‘อนุทิน’ ส่งไฟเซอร์ 5 แสนโดสให้ ภาคใต้ เตรียมลงพื้นที่ดูสถานการณ์ โควิดภาคใต้

‘อนุทิน’ ส่งไฟเซอร์ 5 แสนโดสให้ ภาคใต้ เตรียมลงพื้นที่ดูสถานการณ์ โควิดภาคใต้

อนุทิน ส่งไฟเซอร์จำนวน 5 แสนโดสให้ภาคใต้ พร้อมเดินหน้าลงพื้นที่เฝ้าดูสถานการณ์ โควิดภาคใต้ ที่ยอดป่วยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง นาย อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้สัมภาษณ์ถึงการสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 น่ากังวล

โดยนายอนุทินเปิดเผยว่า ปลายสัปดาห์นี้จะเดินทางไปติดตามสถานการณ์การระบาดและการฉีดวัคซีนพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 

และถือโอกาสคุยกับผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เพื่อขอให้ช่วยทำความเข้าใจกับประชาชนเข้ารับการฉีดวัคซีน เพื่อลดอัตราความรุนแรงของโรค ซึ่งนายอนุทินระบุว่า หากติดเชื้อเยอะสถานพยาบาลอาจไม่เพียงพอ เราไม่อยากเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกนอกเขตพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ แต่ขณะนี้ยังมีเตียง สถานพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ และยาฟาวิพิราเวียร์เพียงพอเตรียมพร้อมรองรับไว้แล้ว ยังมีระบบเขตสุขภาพช่วยกันดูแลผู้ป่วย ภาคใต้เป็นเขตสุขภาพที่ 12 มีสงขลา หาดใหญ่ นครศรีธรรมราช ที่มีโรงพยาบาลศูนย์รองรับ

“หากดูแลภาคใต้ที่มีผู้ป่วยรายใหม่เฉลี่ยวันละ 2,300 รายได้ ตัวเลขติดเชื้อรายใหม่ของไทยก็จะต่ำกว่าหลักหมื่นราย ส่วนที่ต้องลงไปดูด้วยตัวเอง เพราะเชื่อว่าบุคลากรสาธารณสุขพยายามควบคุมโรคอย่างเต็มที่ แต่ต้องไปดูว่าทำไมยังติดเชื้อเยอะ จะแก้ไขอย่างไร เราส่งไปทุกอย่าง กรมควบคุมโรคก็จัดส่งวัคซีนไฟเซอร์ 5 แสนโดส และกำชับให้เร่งฉีด อย่างน้อยวัคซีนไปถึงประชาชนได้ฉีดแล้วอย่างไรก็ลด เหมือนกับ กทม.ฉีดเกิน 70% ก็ควบคุมการติดเชื้อได้ สถานการณ์ดีขึ้น เราก็ต้องแก้ไขปัญหาเป็นจุดๆ ไป” นายอนุทิน กล่าว

ปัจจุบันไทยใช้รูปแบบค่าโดยสารรถไฟฟ้าตามระยะทาง (Distance – Base Fare) ตามมาตรฐาน MRT Assessment Standardization ซึ่งค่าโดยสารแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ค่าแรกเข้า และค่าโดยสารตามระยะทาง โดยใช้ดัชนี CPI :Non Food & Beverages ประกอบการคำนวณอัตราค่าแรกเข้า ทั้งนี้ โครงสร้างอัตราค่าโดยสารในปี 2563 จึงควรมีอัตราค่าแรกเข้าที่ 12 บาท และค่าโดยสารตามระยะทาง 2 บาท (โครงสร้างอัตราค่าโดยสาร คือ 12+2X)

ในขณะที่ผลการเจรจาต่อรองผู้รับสัมปทาน ข้อ 4 กำหนดอัตราค่าโดยสารแรกเข้า 15 บาท ค่าโดยสารต่อสถานี 3 บาท (โครงสร้างอัตราค่าโดยสาร คือ 15+3X) โดยใช้ Headline CPI หรือ ดัชนีราคาที่รวมสินค้าทุกหมวด ทำให้อัตราค่าโดยสารสูงกว่าการใช้ ดัชนี CPI : Non Food & Beverages เมื่อเปรียบเทียบรายได้ค่าโดยสารจากสูตร MRT Assessment Standardization และข้อเสนอของ BTS พบว่า ข้อเสนอของ BTS จะมีรายได้ค่าโดยสารมากกว่าแบบ MRT Assessment Standardization ประมาณ 4.6 แสนล้านบาท

ดังนั้น โครงสร้างอัตราค่าโดยสาร คือ 12+2X ของ MRT Assessment Standardization จะทำให้ผู้โดยสารจะได้รับประโยชน์จากค่าโดยสารที่ถูกลง และรัฐบาลจะสามารถช่วยลดค่าครองชีพ ให้ผู้โดยสารได้ปีละ 15,000 ล้านบาท

‘ประยุทธ์’ ประกาศ เปิดประเทศ รับชาวต่างชาติ 1 พ.ย.

ประยุทธ์ ประกาศ เปิดประเทศ รับชาวต่างชาติจากประเทศกลุ่มความเสี่ยงต่ำและฉีดวัคซีนครบโดสอย่างน้อบ 10 ประเทศ โดยไม่จำเป็นต้องกักตัว 1 พ.ย. 

เปิดประเทศ 1 พ.ย. – พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม ได้ประกาศผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจว่าใน 1 พฤศจิกายน รับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่สามารถรับวัคซีนครบสองโดสแล้วและเดินทางอากาศที่มาจากประเทศความเสี่ยงต่ำ พร้อมแสดงหลักฐานการตรวจหาเชื้อและการฉีดวัคซีนโควิด จะไม่จำเป็นต้องเข้ารับการกักตัวเมื่อถึงประเทศไทย

ซึ่ง พล.อ.ประยุทธ์ กล่าวว่า ขณะนี้ได้ตั้งประเทศความเสี่ยงต่ำจำนวน 10 ประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สิงคโปร์ เยอรมนี จีน และ อเมริกา ซึ่งจะมีการเพิ่มจำนวนประเทศขึ้นในวันที่ 1 ธันวาคม และ 1 มกราคมต่อไป สำหรับผู้ที่เดินทางจากประเทศที่ไม่ได้อยู่กลุ่มความเสี่ยงต่ำสามารถเดินทางได้ แต่ต้องกักตัว

นอกจากนี้ยังได้ประกาศว่าจะอนุญาตให้ประชาชนสามารถดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ภายในร้านอาหารได้ภายในวันที่ 1 ธันวาคม ภายใต้การป้องกันของระบบสาธารณสุข เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และให้ประชาชนพักผ่อนหย่อนใจในช่วงการเฉลิมฉลองเทศกาลปีใหม่

นายกฯกล่าวยอมรับว่ามีความเสี่ยง และขอให้เฝ้าดูสถานการณ์ต่อไป อย่างไรก็ดี หากมีโควิดสายพันธุ์ที่รุนแรงขึ้น อาจจะมีการปรับเปลี่ยนมาตรการต่อไป และขอให้ประชาชนเตรียมพร้อมรับมือ

ข้อเสนอเพื่อลดค่าครองชีพของประชาชน เนื่องจาก ร่างสัญญาสัมปทาน ไม่มีเงื่อนไขที่ระบุชัดเจนถึงมาตรการส่งเสริมให้ผู้มีรายได้น้อยมาใช้บริการ รวมถึงมาตรการส่งเสริมการเดินทางด้วยบัตรโดยสารรายเดือนเพราะเป็นดุลพินิจของเอกชน โดยภาครัฐไม่มีส่วนในการกำกับดูแล ดังนั้น กทม. ควรมีมาตรการส่งเสริมการเดินทางเพื่อลดค่าครองชีพของประชาชน และประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด

รฟม. ได้ยืนยันถึงความเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในสิ่งก่อสร้างและที่ดินตลอดแนวโครงการรถไฟฟ้าทั้ง 2 ช่วง เนื่องจาก ปัจจุบัน รฟม. ยังไม่สามารถโอนหนี้สินจากการก่อสร้าง ช่วงหมอชิต-คูคต ให้แก่ กทม. อันเป็นผลจากยังไม่สามารถสรุปรายละเอียดด้านการเงินช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต ทำให้ไม่สามารถโอนโครงการได้ และได้ดำเนินการติดตามการจัดทำรายละเอียดเป็นหนังสือถึง กทม. เป็นระยะแต่ยังคงไม่ได้รับคำตอบ

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป